ฟอสฟอรัส สำคัญกับผู้ป่วยไตเสื่อมอย่างไร?

เมื่อไตวาย หน้าที่การกรองขั
มีมากเกินไป เกิดอั
**ผลการตรวจเลือด ต้องมีระดั
เรามาทำความรู้จัก กับ ฟอสฟอรัส มีหน้าที่ หลักๆ ได้ 6 ข้อ ดังนี้
1.เป็นส่วนประกอบของกระดูกและฟั น
2.เป็นสารสำคัญในการสร้างเยื่ อหุ้มเซลล์
3.เป็นสารสำคัญในการดูแลปรับ สมดุ ลความเป็นกรด – ด่างในเลือด
4.เป็นเกลือแร่ที่จำเป็น ในกระบ วนการเผาผลาญอาหารต่างๆ
5.เป็นสารสำคัญ ควบคุ มการทำงานของ ระบบประสาทและกล้ ามเนื้อ
6.ช่วยในการทำงานของ วิตตามิ นและเอนไซม์ ให้ทำงานอย่างมี ประสิทธิภาพแต่หาก มี ฟอสฟอรัส สะสมมากเกินไปจะทำให้เกิดอั นตรายได้
ฟอสฟอรัส ทำร้ายร่างกายผู้ป่วยไตเสื่อม ได้อย่ างไร?
ผู้ป่วยไตเสื่อม ที่ได้รับการแจ้งจา กแพทย์ว่า กำลังอยู่ในภาวะฟอสฟอรัสในเลือด สูง ผู้ป่วย จะสังเกตอาการได้ง่ายๆ คือ
1.รู้สึกผิวหนังดำคล้ำมากขึ้น คันยิบๆ ตามตัวจนรู้สึกรำคาญ
2.หากมีฟอสฟอรัส สูงๆ นานเข้า อาจถึงขั้นกระดูกเปราะ หรือหักได้ง่ายเลยทีเดียว
3.อาจมีอาการต่อมพาราไทรอยด์โต จนต้อง ผ่าตัด กันเลย
4.ร้ายแรง สุดอาจทำให้เกิดการอุดตันของหลอ ดเลือดที่ใช้ในการฟอกเลือด สำหรับคนที่กำลังฟอกไตอยู่ได้
เมื่อ มีฟอสฟอรัส สูงแล้ว เราควรงด ฟอสฟอรัส ไปเลยดีไหม?
ฟอสฟอรัส ไม่ใช่สารอาหารที่ให้แต่โทษเพีย งอย่างเดียวนะคะ เพราะจริงๆ แล้ว ฟอสฟอรัส ยังช่วยลดโอกาสในการเกิดความผิดปกติของหั วใจ และ หลอดเลือดต่างๆ ได้เหมือนกัน แต่สำหรับผู้ป่วยไตเสื่อม ควร “จำกัด” การทานอาหารที่มีฟอสฟอรัส เพื่อไม่ให้มีปริมาณฟอสฟอรัสสะส มอยู่ในร่างกายมากจนเกินไป
ฟอสฟอรัส สำคัญกับผู้ป่วยไตเสื่อม อย่างไร
อาหารที่ผู้ป่วย ไตเสื่อม ควรหลีกเลี่ยง
นอกจากอาหารรสจัดแล้ว ยังควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีฟอสฟ อรัสสูง ได้แก่
– ไข่แดง
– เนื้อสัตว์ติดมัน
– ถั่วต่างๆ รวมถึงธัญพืชจำพวก งาดำ งาขาว
– ผลิตภัณฑ์จากนมวัว เช่น ชีส โยเกิร์ต ไอศรีมที่ทำจากนม
– ข้าวกล้อง
– บะหมี่
– ขนมปังโฮลวีต
– ขนมเบเกอรี่ต่างๆ
– ผักสีเข้ม เช่น คะน้า บล็อกโคลี่ แครอท ผักโขม กะเพรา โหระพา ขี้เหล็ก ชะอม ฟักทอง มะเขือเทศ
– เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เช่น กาแฟ ชาเขียวใส่นม น้ำอัดลม โกโก้/ช็อคโกแลต
– ขนมไทยที่ทำจากไข่แดง เช่น ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง
อาหารที่ผู้ป่วยไตเสื่อม ควรทาน
ถ้าให้จำง่ายๆ มองหาอาหารที่มีสีจืดๆ สีไม่เข้ม
– ไข่ขาว
– ปลา
– เนื้อหมู ไก่ (ที่ไม่ติดมัน)
– น้ำเต้าหู้ที่ทำสดๆ น้ำนมข้าวที่ไม่ปรุงแต่ง
– ข้าวขาว
– เส้นหมี่ เส้นเล็ก วุ้นเส้น
– ผักสีอ่อน เช่น กะหล่ำปลี ผักกาดขาว ฟัก มะเขือยาว มะเขือเปราะ มะระ ผักบุ้ง
(การนำไปลวก หรือต้มก่อนทาน ก็จะช่วยลดฟอสฟอรัสในผักได้)
– น้ำขิง
– ชาไม่ใส่นม
– น้ำเปล่า
– เมอแรงค์ (ทำจากไข่ขาว) ซาหริ่ม ขนมชั้น ลอดช่อง วุ้น
ถึงแม้อาหารเหล่านี้จะทานได้ แต่ก็ไม่ควรทานจนมากเกินไป ควรดูแล ปรับสมดุลของอาหารให้ดี และทานอาหารให้หลากหลาย ไม่ซ้ำซากจำเจเหมือนเดิมในทุกๆ วัน ทุกๆ มื้อ เพื่อให้ได้สารอาหารที่หลากหลาย มากยิ่งขึ้น
นอกจากนี้ ใครที่ต้องทานยาจับฟอสฟอรัส ก็อย่าลืมทานพร้อมอาหารอย่างสม่ำเสมอด้วย ช่วยให้ฟอสฟอรัสไม่สูงได้เป็นอย่ างดี
ถ้าเราควบคุมปริมาณฟอสฟอรัสในเลื อดได้ อาการของ ไตเสื่อม ของเราก็จะดีขึ้นตามลำ ดับ จะได้อยู่กับ ไตเสื่อม ได้อย่างมีความสุข ไม่น่ากลัวค่ะ
การควบคุมอาหาร คือ การไม่เติม ของเสียให้ไต ทำงานหนัก แต่เมื่อไตเสื่อมแล้ว ก็ต้องการ การดูแลฟื้นฟูให้ไตกลั บมาทำงานได้ดีมากขึ้น ซึ่งตอนนี้ ก็ได้มี สารอาหารในรูปแบบเจล ที่จะช่วยฟื้นฟูไต ได้ นั่นก็ คือ UMI ซึ่งเป็นสารสกัด จากสาหร่ายสีนำ้ตาล สกัด เอาสารสำคัญที่ชื่อว่า ฟูคอยแดน ออกมา คลิ๊กที่รูปภาพ เพื่อดูรายละเอียด ของ UMI ได้เลยค่ะ
ด้วยรักและห่วงใย
www.hrtexo.com
กดเพิ่มเพื่อน เพื่อรับข้อมูลดีๆได้อัตโนมัติ กดลิงค์ด้านล่างได้เลยค่ะ